การละเล่นอย่างหนึ่งของชาวบ้าน ที่ร่วมกันเล่นเพื่อความสนุกสนานและเพื่อความสามัคคี นิยมเล่นกันในระหว่าง พ.ศ. 2484 - 2488
เท่งตุ๊กเป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านของไทย มีตัวละคร ตัวพระ ตัวนาง ผู้ร้าย แสดงไปตามบทบาทและเนื้อเรื่อง แต่เดิมส่วนใหญ่ใช้ผู้หญิงแสดง ยกเว้นตัวตลกซึ่งอาจใช้ผู้ชาย ลักษณะการร่ายรำมีกลิ่นอายของละครชาตรี
รำสวด มีประวัติความเป็นมาที่บอกเล่าสืบกันมาว่าเป็นเพลงพื้นบ้านที่ใช้แสดงหลังมีพิธีสวดพระอภิธรรม ซึ่งการทำพิธีบำเพ็ญกุศลศพถือว่าเป็นประเพณีที่จะต้องทดแทนพระคุณของผู้ตาย
เนื่องจากการแสดงศิลปพื้นเมืองภาคตะวันออก ไม่ค่อยมีเด่นชัดนัก ทางคณะครูอาจารย์สายนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี จึงได้ประดิษฐ์ชุดการแสดงขึ้นตามสภาพความเป็นอยู่ของท้องถิ่น
ได้นำวิธีการทอเสื่อมาประดิษฐ์เป็นท่ารำ โดยเริ่มจากการตัดกก จักกก ย้อมสีกก ตลอดจนการทองเป็นผืนเสื่อ
แนวความคิดในการประดิษฐ์ระบำควนคราบุรี เนื่องจากจังหวัดจันทบุรีได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากขอม มีหลักฐานทางศิลปะวัฒนธรรมของขอมเหลืออยู่